ReadyPlanet.com
dot
dot
รายการสินค้าต่างๆ
dot
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletกล่องแป้ง(หน้าขาว-หลังเทา)พิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกล่องกระดาษลูกฟูกพิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกล่องกระดาษอาร์ตพิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกระดาษลูกฟูก
bulletกล่องไดคัท
bulletฟรอยด์
bulletฝาฟรอยด์
bulletฝาฟอยด์ปิดถ้วย
bulletฟรอยด์ติดซองยา
bulletซองลามิเนต
bulletซองลามิเนตแบบตั้งได้ (Stand up pouch)
bulletซองลามิเนตแบบซีลกลาง(Center seal pouch)
bulletซองลามิเนตแบบซีล 3 ด้าน
bulletฝาน้ำดื่ม
bulletแคปซีล (Capseal)
bulletฟิล์มหดรัดสินค้า
bulletฉลากฟิล์มหดรัดตัวขวด
bulletฉลากฟิล์มรัดทั้งตัวขวด
bulletฉลากฟิล์มหดรัดคอขวด
bulletแพคโหล
bulletสติ๊กเกอร์
bulletถุงสูญญากาศ
bulletถุงขนมต่างๆ
bulletถาดกำมะหยี่
dot
ความรู้
dot
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletฟรอยด์
bulletฟิล์มหดรัดสินค้า
bulletซองลามิเนต
bulletบลิสเตอร์แพค สกินแพค (Blister pack, Skin pack)
bulletถุงสูญญากาศ
bulletแพคโหล
bulletแคปซีล (Capseal)
bulletบรรจุภัณฑ์เบื้องต้น
bulletเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
dot
แผนที่
dot
bulletแผนที่โกดัง บริษัท ดิจิตอล กราเวียร์ แพคเกจจิ้ง จำกัด
bulletแผนที่ตั้งบริษัทดิจิตอล กราเวียร์ แพกเกจจิ้ง จำกัด
dot
รับสมัครงาน
dot
bulletนักศึกษาฝึกงาน
bulletนักออกแบบกราฟฟิก(Graphic Desiner)
bulletSale Executive เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย
bulletพนักงานโอเปอร์เรเตอร์(Operator)
bulletเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี
bulletเจ้าหน้าที่ลูกค้าสัมพันธ์ และ Telemarketing
bulletผู้จัดการฝ่าย
bulletผู้จัดการฝ่ายการตลาด
bulletช่างเทคนิค
bulletช่างซ่อมบำรุง
bulletผู้ช่วยช่างพิมพ์
bulletช่างพิมพ์กราเวียร์
bulletช่างลามิเนต
dot
รวมลิงค์เว็บเพื่อนบ้าน
dot
bullet108ideamachines
bullet108ideapackaging
dot
Newsletter

dot
bulletฝาฟรอยด์
bulletBuild your own transformer
bulletขั้นตอนการทำหม้อแปลง
bulletการทดสอบหม้อแปลง
bulletหลักการออกแบบ
bulletPicture
bulletความหมายของ PCB
bulletขั้นตอนการทำแผงวงจรพิมพ์ (PCB) โดยใช้ Dry film
bulletวิธีการทำแผงวงจรพิมพ์ (PCB) โดยใช้แผ่นใส
bulletผลการทดสอบการทำงานของแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB)
bulletปัญหาที่พบ และวิธีการแก้ไข
bulletนักศึกษาสามารถนำความรุ้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร ?
bulletPicture PCB !!
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
bulletshrink label


ดิจิตอล กราเวีย แพคเกจจิ้ง ผู้นำทางด้านบรรจุภัณฑ์ โดดเด่น ทันสมัย สีสันสวยงาม เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้วยบรรจุภัณฑ์รูปแบบต่างๆ
ผู้นำด้านเทคโนโลยีเครื่องจักร เครื่องปั้มฝาถ้วย  ปืนเป่าลมร้อน.....


ความหมายของ PCB

                        ขอขอบคุณ อาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช  

                    จัดทำโดย นายเอกวิกร  กิตติสุพัฒน์     รหัส 52291234  ห้อง C

              ความหมายของแผ่นวงจรพิมพ์ หรือ PCB

               แผ่นวงจรพิมพ์หรือ PCB (Printed circuit board) นิยมเรียกกันว่า "แผ่นปริ้นท์" หรือแผ่นวงจรอิเล็คทรอนิกส์"

เป็นแผ่นที่มีลายทองแดงนำไฟฟ้าแทนการต่อวงจรด้วยสายไฟให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยตัวนำทองแดงถูกทำให้เป็น

เส้น ( track ) บนพื้นวัสดุ ฉนวนไฟฟ้า เพื่อให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ถูกยึดทางกลอยู่บนแผงวงจรเดียวกันอย่างเป็นระเบียบสวย

งาม   โดยแผงวงจรนี้อาจมีลายทองแดงเพียงด้านเดียว ( Single side ) หรือสองด้าน ( Double side ) หรือสามารถวางซ้อน

กันได้หลายๆชั้น ( Multi layer ) ได้เช่นกัน ตามความต้องการของผู้ออกแบบ ถูกคิดค้นเมื่อ ปี 1936 โดย Paul Eisler

( 1907-1995 ) และถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้อย่างจริงจังในราวปี 1943 เพื่อใช้ในการปฏิบัติการสงครามโลกครั้งที่ 2

 

                                     

                  PCB Classification

              1. PCB แบบหน้าเดียว ( Single side )

              2. PCB แบบ สองหน้า ( Double side )

              3. PCB ชนิดหลายชั้น ( Multi layer )

                  วัสดุในการทำ PCB

                - ชั้นตัวนำทำด้วยแผ่น Copper foil

                - แผ่นฉนวน เป็นชั้นของ ( Dielectric ) ที่อัดด้วย Epoxy  resin ซึ่งมีหลายชนิดตามความต้องการของงานแต่ละ

                  ประเภท ปกติแล้ว ไดอิเกทริค มันจะเปนวัสดุประเภท Polytetrafluoroethylene อาทิเช่น

                               FR-1 ( Phenolic Paper Copper Clad Laminate ) เป็นชนิดที่ คนนิยมใช้ในปัจจุบัน

                               FR-2 ( Phenolic Cotton paper )

                               FR-3 ( Cotton paper and epoxy )

                               FR-4 ( Woven glass and epoxy )

                               FR-5 ( Woven glass and epoxy )

                               FR-6 ( Matte glass and polyester )

                               G-10 ( Woven glass and epoxy )

                               CEM-1 ( Cotton paper nad epoxy )

                               CEM-2 ( Cotton paper nad epoxy )

                               CEM-3 ( Woven glass and epoxy )

                               CEM-4 ( Woven glass and epoxy )

                               CEM-5 (Woven glass and polyester )

เมื่อนำแผ่นปริ้นท์ มาผ่านกรรมวิธีขึ้น ลายวงจรพิมพ์ ( สามารถทำได้หลายวิธี ) ก็จะทำการกัดลายวงจร PCB ( Etching ) ด้วย

เฟอริกคลอไรด์ ( FeCl3 ) เมื่อล้างทำความสะอาดแล้วนำมาเจาะรูสำหรับวางอุปรณ์ แล้ว ทำการบัดกรียึดขา อุปกรณ์กับลาย

วงจรบนแผ่น PCB ด้วยตะกั่ว บัดกรี

 

หมายเหตุ

               - กรณีที่ใช้ Dry Film  หรือน้ำยาไวแสง ต้องนำมาล้างขึ้นลายวงจร PCB ( Developing ) ด้วยน้ำยา diveloper

                 ( โซเดียมคาร์บอนเนต ) 
               
- เทคนิคการบัดกรีมีหลายวิธีตามเทคโนโลยีที่เลือกใช้ !! 

 

            คลิ๊กตามหัวข้อที่ต้องการได้เลยครับ

ความหมายของแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB) :   http://www.108ideabusiness.com/meaning-PCB.html

วีธีการทำแผ่น PCB แบบ Dry film :  http://www.108ideabusiness.com/ขั้นตอนการทำแผงวงจรพิมพ์-PCB.html

วิธีการทำแผ่น PCB แบบ แผ่นใส :   http://www.108ideabusiness.com/วิธีการทำแผงวงจรพิมพ์-PCB-โดยใช้แผ่นใส.html

ผลการทดสอบการทำงานของ PCB :  http://www.108ideabusiness.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538970521

ปัญหาที่พบและวิธีการแก้ไข : http://www.108ideabusiness.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538970522

สามารถนำความรู้ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร : http://www.108ideabusiness.com/นักศึกษาสามารถนำความรุ้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร-.html

รูปประกอบ : http://www.108ideabusiness.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538970524







Copyright © 2010 All Rights Reserved.