ReadyPlanet.com
dot
dot
รายการสินค้าต่างๆ
dot
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletกล่องแป้ง(หน้าขาว-หลังเทา)พิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกล่องกระดาษลูกฟูกพิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกล่องกระดาษอาร์ตพิมพ์ออฟเซ็ท
bulletกระดาษลูกฟูก
bulletกล่องไดคัท
bulletฟรอยด์
bulletฝาฟรอยด์
bulletฝาฟอยด์ปิดถ้วย
bulletฟรอยด์ติดซองยา
bulletซองลามิเนต
bulletซองลามิเนตแบบตั้งได้ (Stand up pouch)
bulletซองลามิเนตแบบซีลกลาง(Center seal pouch)
bulletซองลามิเนตแบบซีล 3 ด้าน
bulletฝาน้ำดื่ม
bulletแคปซีล (Capseal)
bulletฟิล์มหดรัดสินค้า
bulletฉลากฟิล์มหดรัดตัวขวด
bulletฉลากฟิล์มรัดทั้งตัวขวด
bulletฉลากฟิล์มหดรัดคอขวด
bulletแพคโหล
bulletสติ๊กเกอร์
bulletถุงสูญญากาศ
bulletถุงขนมต่างๆ
bulletถาดกำมะหยี่
dot
ความรู้
dot
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletฟรอยด์
bulletฟิล์มหดรัดสินค้า
bulletซองลามิเนต
bulletบลิสเตอร์แพค สกินแพค (Blister pack, Skin pack)
bulletถุงสูญญากาศ
bulletแพคโหล
bulletแคปซีล (Capseal)
bulletบรรจุภัณฑ์เบื้องต้น
bulletเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
dot
แผนที่
dot
bulletแผนที่โกดัง บริษัท ดิจิตอล กราเวียร์ แพคเกจจิ้ง จำกัด
bulletแผนที่ตั้งบริษัทดิจิตอล กราเวียร์ แพกเกจจิ้ง จำกัด
dot
รับสมัครงาน
dot
bulletนักศึกษาฝึกงาน
bulletนักออกแบบกราฟฟิก(Graphic Desiner)
bulletSale Executive เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย
bulletพนักงานโอเปอร์เรเตอร์(Operator)
bulletเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี
bulletเจ้าหน้าที่ลูกค้าสัมพันธ์ และ Telemarketing
bulletผู้จัดการฝ่าย
bulletผู้จัดการฝ่ายการตลาด
bulletช่างเทคนิค
bulletช่างซ่อมบำรุง
bulletผู้ช่วยช่างพิมพ์
bulletช่างพิมพ์กราเวียร์
bulletช่างลามิเนต
dot
รวมลิงค์เว็บเพื่อนบ้าน
dot
bullet108ideamachines
bullet108ideapackaging
dot
Newsletter

dot
bulletฝาฟรอยด์
bulletBuild your own transformer
bulletขั้นตอนการทำหม้อแปลง
bulletการทดสอบหม้อแปลง
bulletหลักการออกแบบ
bulletPicture
bulletความหมายของ PCB
bulletขั้นตอนการทำแผงวงจรพิมพ์ (PCB) โดยใช้ Dry film
bulletวิธีการทำแผงวงจรพิมพ์ (PCB) โดยใช้แผ่นใส
bulletผลการทดสอบการทำงานของแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB)
bulletปัญหาที่พบ และวิธีการแก้ไข
bulletนักศึกษาสามารถนำความรุ้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร ?
bulletPicture PCB !!
bulletกล่องออฟเซ็ท
bulletความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
bulletshrink label


ดิจิตอล กราเวีย แพคเกจจิ้ง ผู้นำทางด้านบรรจุภัณฑ์ โดดเด่น ทันสมัย สีสันสวยงาม เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้วยบรรจุภัณฑ์รูปแบบต่างๆ
ผู้นำด้านเทคโนโลยีเครื่องจักร เครื่องปั้มฝาถ้วย  ปืนเป่าลมร้อน.....


ซองลามิเนต article

ซองลามิเนต คือ พลาสติกที่เกิดจากการพิมพ์ด้านหลังของพลาสติกที่ใช้ในการทำบรรจุภัณฑ์ได้แก่ พลาสติก PET, MPET, OPP แล้วนำมาปะกบติดกับพลาสติกอีกชั้นหนึ่งได้แก่ CPP, LLDPE, PE  เป็นต้น เพื่อเป็นตัวยึดติดในการขึ้นรูปหรือการปะกบติดของซอง สินค้าที่บรรจุลงในซองลามิเนตโดยส่วนใหญ่แล้วจะนิยมบรรจุอาหาร

  

      เรามาทำความรู้จักกับพลาสติกกันเถอะ

คุณสมบัติของพลาสติก

        พลาสติกนับว่าเป็นวัสดุที่มีบทบาทและสำคัญมากในยุคปัจจุบันนี้และเป็นคู่แข่งของเหล็กซึ่งนับวันได้ถูกใช้อย่าง

มากมายจนเหลือน้อยทำให้พลาสติกได้ถูกนำมาใช้แทนอย่างมากเพราะพลาสติกมีคุณสมบัติพิเศษดีเด่นกว่าวัสดุอื่นที่ใช้กันมา

ก่อนอย่างมากมาย เพราะสามารถใช้แทนวัสดุอื่นได้เกือบทั้งหมด เช่น

          -  แข็งแรง                    -  ทนการสึกกร่อน                  -  ทึบแสง และเบา       

          -  อ่อนนุ่ม                       -  ทนสารเคมี                            -  ลอยน้ำได้

          -  ยืดตัว                          -  เป็นฉนวนไฟฟ้า                   -  หล่อลื่นในตัว

          -  เหนี่ยวทนทาน          -  กันน้ำ                                      -  ทำเป็นสีต่าง ๆ ได้

          -  โปร่งใส                       -  ไม่ไฟติดง่าย                         -  ทนความร้อน

          พลาสติกมีคุณสมบัติทางโครงสร้างพิเศษที่เรียกว่า High Molecular Weight คือในหนึ่งโมเลกุลมีจำนวน

อะตอมมากกว่าสารชนิดอื่นมากมาย จึงทำให้มีคุณสมบัติหลาย ๆ อย่างพร้อมกันไป คือ

                    - คุณสมบัติทางกายภาพ มีความแข็งแรง เหนียว ยืดหยุ่น ฯลฯ

                    - คุณสมบัติทางไฟฟ้า เป็นฉนวนไฟฟ้า

                    - คุณสมบัติทางเคมี ทนกรด ด่าง และสารเคมีอื่น ๆ

 

สมบัติและประโยชน์ของพลาสติกบางชนิด

1. โปลีเมทธีนเมตาอะคริเลต (Polymethymethaacrylate) หรือ อะคริลิค (Acrylics) มีตัวย่อว่า PMMA รู้จักกันดีในชื่อการค้าว่าเพลคซิกกลาส (Plexiglass) ลูไซท์ (Lucite) โพลีกลาส (Polyglass) ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ.1936 อะคริลิคได้ถูกนำไปผสมกับพลาสติกชนิดอื่นเช่นสไตรีน(styrene)บ้างพิวีซีบ้างเกิดเป็นพลาสติกชนิดใหม่ เช่น MethylMethacrylate Styrene เป็นต้น

          คุณสมบัติ  เป็นพลาสติกที่ใสที่สุดชนิดหนึ่ง แข็งแรงพอสมควร เป็นรอยขีดข่วยง่ายทนแสงอุลตราไวโอเลทได้ดี ทนความร้อน ความเย็น เป็นฉนวนไฟฟ้าดีมาก ทนสารเคมีได้พอสมควร ไม่ควรให้ถูกน้ำมัน เบนซิน อาซีโทน คลอโรฟอร์ม สเปร์ยน้ำหอม และพวกรดออกซิไดซิ่ง ชนิดเข้มข้น ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ โปร่งใส อะคริลิคยังทำเป็นสีต่าง ๆ ได้มีทั้งชนิดใส ฝ้าและทึบแสง

          ประโยชน์  นิยมนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ป้ายร้ายค้า ป้ายโฆษณา โคมหลังคา กรอบแว่นตา เลนซ์ โคมไฟ เฟอร์นิเจอร์ ถาด และถ้วยบรรจุของเหลวชนิดใส

 

2.โปลียาไมด์ (Polyamides or Nylon) ย่อว่า PA พลาสติกชนิดนี้รู้จักกันดีในชื่อ ไนล่อน ซึ่งคิดค้นและนำเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมเมื่อ ค.ศง 1938 โดยบริษัท Du Pont จุดประสงค์เพื่อใช้เป็นวัสดุทนแทนเส้นไหมในอุตสาหกรรมทำถุงเท้า ซึ่งได้รับความสำเร็จอย่างงดงามในช่วงระยะเวลาอันสั้น ไนล่อนได้เข้ามามีบทบาทแทนเส้นไหมเกือบทั้งหมด

            คุณสมบัติ  มีน้ำหนักเบา ราคาแพง แข็งแรง ทนทาน ตกไม่แตก ไม่มีปฏิกิริยาต่อน้ำมัน ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส และไม่เป็นพิษ เป็นฉนวนไฟฟ้าแต่ไม่เหมาะสำหรับไฟฟ้าแรงสูง มีความทนทานต่อการเสียดทานสูง รับแรงดคง แรงอัดได้ดี ทนความร้อน ทนการขีดข่วน ทนกรดชนิดอ่อน ทนด่างได้ทั้งชนิดอ่อน และเข้ม สามารถทำเป็นสีต่าง ๆ ได้

          การใช้ประโยชน์ ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม ทำเกียร์ แบริ่ง บูช ส่วนรับน้ำหนักและมีแรงเสียดทานสูง ในรูปเส้นใยใช้ทำร่มชูชีพ ถุงเท้า เสื้อฟ้า เอ็นตกปลา ผงกำมะหยี่ นอกจากนั้นยังใช้ทำค้อนพลาสติก วาวล์ ท่อส่งน้ำมันและสารเคมีอื่น ๆ ใบพัด ขวดสเปรย์บางชนิด

3. โปลีสไวนีล ครอไรด์ (Polyvinylchloride) ย่อว่า PVC มีคุณสมบัติทนทางเคมี ทำความสะอาดง่ายไม่เกาะติดสิ่งสกปรก จึงใช้ทำกระเบื้องยางปูพื้นซึ่งมักจะผสมใยหิน (Asbestos) ด้วยคุณสมบัติเหนียวทนทานใส และพิมพ์ง่ายจึงนิยมใช้ทำท่อน้ำ สายไฟฟ้า  ถุงมือ ของเด็กเล่นชนิดเป่าลม ถ้วยและถาดบรรจุอาหารชนิดแผ่นบาง ใช้ทำถุงและพลาสติกบรรจุของ รองเท้าเด็ก ขวดน้ำมันพืชชนิดต่าง ๆ

           4. โปลีเอททีลีน (Polyethylene) ย่อว่า PE มีน้ำหนักเบาในรูปของแผ่นบาง สามารถพับงอได้ดี มีความหนามากขึ้นจะคงรูปรับแรงดึงและแรงอัดได้น้อย มีความยืดตัวได้สูงถึง 500 เปอร์เซ็นต์ ฉีกขาดยาก มีลักษณะคล้ายขี้ผึ้ง ไม่เกาะติดน้ำ เป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดีมาก โดยทั่วไป โปลีเอททีลีน มีลักษณะใส เมื่อเป็นแผ่นบางจะมีสีขุ่น เมื่อความหนาเพิ่มขึ้น สามารถทำเป็นสีต่าง ๆ ได้ตามต้องการ

          การใช้ประโยชน์ โปลีเอททีลีน มีปริมาณการใช้สูงสุดในพลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติก แม้ราคาต่อปอนด์จะไม่

ถูกที่สุดแต่เพราะมีน้ำหนักเบากว่าจึงสามารถผลิตได้ปริมาณมาก นิยมใช้ทำถุงบรรจุอาหารและเสื้อผ้า ตุ๊กตาเด็กเล่น ดอกไม้พลาสติก ภาชนะบรรจุในครัว ถาดทำน้ำแข็งในตู้เย็น ขวดและภาชนะบรรจุของเหลว พลาสติกคลุมโรงเพาะชำ สายเคเบิล แผ่นกันความชื้นในอาคารและของใช้ราคาถูกอีกมากมาย  

ประเภท

ชื่อ

ตัวย่อ

Thermplastic

Acrylonitilebutadiene – Styrene – Copolymers

Cellulose Acctate

Cellulose Acetate Butyrate

Cellulose nitrate

Cellulose Propionate

Polyamide (Nylon)

Polycarbonate

Polychloryotrifluoroethylene

Polyethlene

Polyisobutylene

Polymethyl methacrylate (Acrylic)

Polyxymethylene

Polypropylene

Polystyrene

Polytetrafluoroethylene

Polyviny Lacetate

Polyvinylchloride

Styrene – Acry – onitrile – Copolymers

Styrene – Butadiene – Copolymers

A B S

C A

C A B

C N

C P

P A

P C

PCTFE

PE

PIB

PMMA

POM

PP

PS

PTFE

PVAC

PVC

SAN

SB

Thermoseting

EPOXY resin

Melamine formualdehyde

Phenol formualdehyde

Polyurethane

Urea Formaldehyde

Unsaturated Polyester

Silicone

EP

MF

PF

PUR

UF

UP

SI

 




ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

กระดาษลูกฟูก article
กล่องออฟเซ็ท article
ฟรอยด์ article
ฟิล์มหดรัดสินค้า article
บลิสเตอร์แพค สกินแพค (Blister pack, Skin pack)
ถุงสูญญากาศ
แพคโหล
แคปซีล (Capseal)
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.